จับตารัฐจะขึ้นค่าแรงเป็น 492บาทได้หรือไม่?

แปลว่าตัวเลขทางการจะมีการออกมาพูดว่าตัวเลขเงินเฟ้อ 3-4 เปอร์เซ็นต์หรืออะไรก็ว่าไปแต่ต้องบอกว่าในส่วนของเศรษฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมต้องไปถามคนที่เดินถนนคำว่าแพงของแต่ละคนอาจจะไม่เท่ากัน สมมุติว่าไปเจอข้าวแกงจานละ 30 40 บาท ขึ้นมาเป็น 50 60 บาท ตรงนี้มันมากกว่า 3 เปอร์เซ็นต์แล้ว ซึ่งในเชิงพฤติกรรมมันทำให้คนไม่กล้าใช้เงินและอยากจะเก็บเงินเอาไว้ด้วยและมีความรู้สึกว่าข้าวของนั้นแพงไปหมด

 

จับตารัฐจะขึ้นค่าแรงเป็น 492บาท โดยอาจจะต้องอธิบายในลักษณะแบบนี้ด้วยว่าอัตราเงินเฟ้อที่ได้มีการประกาศอยากเป็นทางการที่จริงแล้วมันเป็นคล้ายๆกับลักษณะตะกร้า ตะกร้าในเชิงทางการ

ซึ่ง 40% นั้นเป็นค่าสินค้าอุปโภคบริโภคและก็จะมีค่าอาหารค่าเสื้อผ้าค่าเดินทางมันก็จะเป็นเปอร์เซ็นต์ที่เขาได้ประกาศออกมาอันนี้คือตัวเลขกลางแต่ชีวิตความเป็นจริงหลายๆครอบครัวหรือว่าหลายๆคนรายได้ไม่ได้สูงมากมายนักค่าครองชีพค่าอาหาร มันอาจจะคิดเป็นสัดส่วนเช่นร้อยละ 80 ของรายได้ของเขาเลยก็ได้นั่นแปลว่าในที่ราคาอาหารมันเพิ่มขึ้นมาสมมุติข้าวแกงขึ้นราคาขึ้นมามันก็มีผลกระทบกับเขา

ถ้าหากจะมองในแง่อัตราเงินเฟ้อของเขาเจอผลกระทบหนักมากๆแล้วมันไม่ใช่เพียงแค่ตัวเลขร้อยละ 3 หรือว่าตัวเลขล่าสุดร้อยละ 3.2 แปลว่าบางครอบครัวตัวเลขอาจจะสูงกว่านั้น 

เพียงแต่ว่าแต่ละประเทศอัตราในส่วนนี้อาจจะไม่เท่ากันด้วยดังนั้นเราไปฟังเสียงของท่านรัฐมนตรีกระทรวงแรงงานอย่างท่านสุชาติชมกลิ่นซึ่งท่านรัฐมนตรีได้บอกว่า 

การจะปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเป็น 492 บาทนั้น ไม่น่าจะเป็นไปได้เพราะว่าสูงเกินไปและเกมว่าหากขึ้นค่าแรงไปจนถึงจำนวนนี้จะไปกระทบกลับโรงงานและโรงงานอาจจะปิดตัวได้ ในปีที่แล้วคณะกรรมการค่าจ้างได้มีการหารือกับคณะภาคีแต่ละจังหวัดไม่ว่าจะเป็นภาครัฐนายจ้างลูกจ้างก็ได้ไปศึกษาและพูดคุยว่าควรจะมีการปรับขึ้นค่าแรงหรือไม่ก็ได้ตกลงกัน

ปรากฏว่า 50 จังหวัด ไม่ขอขึ้นค่าแรง เมื่อปี 2564 ได้มีการคุยกันไม่ขอขึ้นค่าแรง  alpha88    เพราะอยากจะช่วยนายจ้างก็คือพูดคุยด้วยความเข้าใจว่าช่วง covid-19 นั้นลำบากด้วยกันทั้งคู่ คือสถานการณ์แบบนี้ต้องเรียนในว่าเรื่องของการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำมันเป็นเรื่องที่ค่อนข้างละเอียดอ่อนอยู่พอสมควร

ซึ่งถ้าหากเป็นในมุมของลูกจ้าง ก็อยากจะได้ค่าแรงที่เพิ่มมากขึ้น แต่ทางฝั่งของนายจ้างเองต้องเรียนตรงๆเลยว่าเขาก็ต้องแบกรับต้นทุนเยอะแยะมากมายต้นทุนค่าแรงมากมายหากสมมุติว่าจริงๆมันเพิ่มแค่นิดเดียวเอง50 บาท 100 บาท แล้วแต่บริษัทว่ามีการเพิ่มขึ้นมา

แต่ว่าแต่ละโรงงานเข้าไปดูจำนวนแรงงานเยอะขนาดไหนเมื่อคุณออกมาเป็นตัวเลขที่สั่งของนายจ้างเขาต้องแบกรับต้นทุนเหล่านี้ในขณะที่ฝั่งของรายได้นายจ้างเองในสภาวะที่ พบเจอกับวิกฤตโควิด 

เพราะฉะนั้นการที่จะไปขึ้นราคาก็คงยากลำบากแล้ว และรวมไปถึงการแข่งขันตอนนี้ก็สูงมากขึ้น เพราะว่าแต่ละบริษัทก็อยากจะได้ลูกค้าดังนั้นก็เลยจะต้องมีการใช้มาตรการลดแลกแจกแถมกันอย่างเต็มที่นั่นแปลว่าอะไรได้ก็ไม่มาต้นทุนก็เพิ่มสูงมากขึ้นและนายจ้างจะไปต่อได้อย่างไร