จีนเดินเกมเหนือ ผูกห่วงโซ่การผลิตอาเซียนด้วยRCEP

ในบริษัทกลุ่มทุนของประเทศญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกาจะพยายามย้ายออกจากประเทศจีน เพราะมีข้อเสียเปรียบที่เกิดขึ้นอยู่ 2 เรื่องคือสงครามการค้า กับพิษโควิด 19 แต่ไม่ใช่ว่าทุกกิจการจะย้ายออกมาได้ทั้งหมด 

เพราะจีนนั้นยังมีข้อได้เปรียบในหลายอุตสาหกรรม ส่วนที่อื่นทำไม่ได้เหมือนประเทศจีนโดยเฉพาะในส่วนกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีการสื่อสารกระนั้นกลุ่มบริษัทแห่งหนึ่งที่ประกอบไปด้วยสหรัฐ ญี่ปุ่น Australia และ อินเดีย พยายามกระจายความเสี่ยงด้วยการแยกตัวออกจากจีนและมาตั้งฐานในอาเซียนตามนโยบาย China Plus One 

ซึ่งมีโรงงานหลักในจีนและขยายโรงงานย่อยออกมาจากจีน แต่ยังมีสายงานการผลิตจากจีนด้วยเพราะมีเหตุผล 2 อย่าง คือ 1 เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาภาษีที่สหรัฐอเมริกาเก็บสูงกับสินค้าที่ผลิตในจีน และ 2 แก้ปัญหาสินค้าขาดแคลนหลังจีนปิดประเทศเพราะโควิด 19 

เพราะฉะนั้นแล้วไม่เพียงแต่เฉพาะบริษัท Force พี่ย้ายออกมาจากจีนบริษัทจีนก็ย้ายออกมาด้วยเพราะจีนวางหมากการค้าการลงทุนเอาไว้อย่างแยบยลนั่นก็คือความผลักดันการตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระดับภูมิภาคหรืออาร์เซ็ปที่มีผลบังคับใช้ในเดือนมกราคม2565 

ขณะเดียวกันได้เปิดเส้นทางรถไฟเพื่อสร้างระบบขนส่งที่มั่นคงรวดเร็วและปลอดภัยเชื่อมเข้ามาในอาเซียนเป็นจุดแข็งที่ทำให้จีนและอาเซียนผูกพันกันเหนียวแน่นมากขึ้นในระบบการผลิตหรือห่วงโซ่อุปทานยากที่นักลงทุนรายใดจะปฏิเสธทำเลทองเช่นนี้

นอกจากนี้มีเว็บไซต์แห่งหนึ่งหรือธนาคารกลางพัฒนาเอเชียมองว่ากระบวนการปรับห่วงโซ่อุปทานในภูมิภาคนี้เพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤต 2 เรื่องดังกล่าว คือ

  • การตั้งเขตการค้าเสรี ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคหรืออาเซ็ป
  • เพื่ออำนวยความสะดวกการค้าขณะที่เว็บไซต์ supply chain แอร์เอเชียดอทโออาจี
  • ได้บอกว่า covid-19 ก็เป็นอีกตัวกระตุ้นหนึ่งที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนฐานการผลิตโลกครั้งใหม่ 

โดยจีนและญี่ปุ่นเริ่มเปลี่ยนแปลงกันแล้วและอาเซียนคือศูนย์กลางห่วงโซ่อุปทานโลกที่ยากจะปฏิเสธ อาเซียนนั้นมีจุดเด่นก็คือ มีความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะ แรงงานฝีมือชั้นกลางราคาไม่แพง ค่าครองชีพต่ำ มีระบบโลจิสติกส์ที่ครบครันและหลากหลาย 

เหมาะแก่การลำเลียงสินค้าออกไปทั่วโลกโดยเฉพาะการเชื่อมระบบรถไฟฟ้าอันทันสมัยจากจีนเข้ามาในอาเซียนที่สามารถลำเลียงสินค้าไปยุโรปและเอเชียกลางได้

สำหรับญี่ปุ่นเป็นประเทศที่เข้ามาตั้งโรงงานในอาเซียนมากเป็นอันดับ 1 ลองจากจีนแผ่นดินใหญ่โดยข้อมูลจากองค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศญี่ปุ่นรายงานว่าในปี 2561 บริษัทในเครือญี่ปุ่นในอาเซียน มีจำนวนมากถึง 7441 บริษัท และได้จริงมีจำนวนมากถึง 6534 บริษัท เห็นได้ชัดว่าห่วงโซ่อุปทานของญี่ปุ่นอยู่ในอาเซียนและจีนเป็นหลักซึ่งทั้งหมดเป็นสมาชิกของอาเซ็ปนอกจากนั้นยังพบว่าในหลายประเทศของอาเซียนที่ญี่ปุ่นเข้าไปตั้งโรงงานจะพึ่งพาวัตถุดิบทั้งจากท้องถิ่นและนำเข้ามาจากญี่ปุ่นในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน 

 

สนับสนุนเนื้อหาโดย  ชุดตรวจ hiv